ระบบแจ้งเตือน : ระบบจะสามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพต่อเมื่อทำงานบน IE Version 8.0 ขึ้นไป [Download]
หน้าหลักระบบบริหารจัดการความรู้ ทีมงานพัฒนาระบบ ทีมงานพัฒนาระบบ
E-Mail(มหาวิทยาลัย)

Password

** รหัสผ่านเดียวกับที่ใช้ในระบบ e-mail มหาวิทยาลัย
 
รายละเอียดบทความ
ตอนที่ 1 : ข้อมูลผู้เขียนบทความ
รหัสอ้างอิง : 332
ชื่อสมาชิก : รัชนีวรรณ วงศ์พระจันทร์
เพศ : หญิง
อีเมล์ : ratchaneewan@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน [สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 21/3/2554 16:19:59
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 21/3/2554 16:19:59
URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้
ตอนที่ 2 : ระดับความชอบที่ผู้อ่านมีต่อบทความนี้
ชอบ  1  คน ไม่ชอบ  0  คน
ตอนที่ 3 : รายละเอียดบทความ
เข้าร่วมอบรม AMOS
แบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) ซึ่งเป็นเทคนิคการวิเคราะห์ทางสถิติที่ใช้ศึกษาโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของตัวแปร ด้วยวิธีการสร้างแบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามที่กำหนดไว้ในสมมติฐานการวิจัย แล้วทดสอบว่าแบบจำลองนั้นมีความกลมกลืนกับข้อมูลที่เก็บมาหรือไม่ สามารถสร้างแบบจำลองเพื่อทดสอบสมมติฐานความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรได้หลายรูปแบบ ทั้งความสัมพันธ์ในการวัดตัวแปรในทางทฤษฎีด้วยตัวชีวัดต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงสาเหตุกับตัวแปรผล การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ต้องอาศัยความรู้ทางสถิติที่นำไปใช้เกี่ยวกับ 1. การวิเคราะห์ถดถอย (Regression Analysis) 2. สถิติที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยหลักการของ SEM Regression Analysis 3. การวิเคราะห์ปัจจัย (Exploratory and Confirmatory Factor Analysis) 3. First Order CFA และ Second Order CFA 4. การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) เพื่อนำไปใช้ในกระบวการวิเคราะห์ SEM

แบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) ซึ่งเป็นเทคนิคการวิเคราะห์ทางสถิติที่ใช้ศึกษาโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของตัวแปร ด้วยวิธีการสร้างแบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามที่กำหนดไว้ในสมมติฐานการวิจัย แล้วทดสอบว่าแบบจำลองนั้นมีความกลมกลืนกับข้อมูลที่เก็บมาหรือไม่ สามารถสร้างแบบจำลองเพื่อทดสอบสมมติฐานความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรได้หลายรูปแบบ ทั้งความสัมพันธ์ในการวัดตัวแปรในทางทฤษฎีด้วยตัวชีวัดต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเชิงสาเหตุกับตัวแปรผล การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ต้องอาศัยความรู้ทางสถิติที่นำไปใช้เกี่ยวกับ 1. การวิเคราะห์ถดถอย (Regression Analysis)  2. สถิติที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยหลักการของ SEM Regression Analysis  3. การวิเคราะห์ปัจจัย (Exploratory and Confirmatory Factor Analysis) 3. First Order CFA และ Second Order CFA  4. การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)  เพื่อนำไปใช้ในกระบวการวิเคราะห์ SEM

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2558  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
วันที่เขียน 10/9/2561 13:03:41  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2567 20:01:32
ตอนที่ 4 : รายการความคิดเห็นทั้งหมดที่มีต่อบทความนี้
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร : Management Information System [MIS]
รับผิดชอบระบบ โดย ศูนย์เทคโนโลยีสารนสนเทศ มหาวิทยาลัย
ติดต่อสอบถาม : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย 63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290