ระบบแจ้งเตือน : ระบบจะสามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพต่อเมื่อทำงานบน IE Version 8.0 ขึ้นไป [Download]
หน้าหลักระบบบริหารจัดการความรู้ ทีมงานพัฒนาระบบ ทีมงานพัฒนาระบบ
E-Mail(มหาวิทยาลัย)

Password

** รหัสผ่านเดียวกับที่ใช้ในระบบ e-mail มหาวิทยาลัย
 
รายละเอียดบทความ
ตอนที่ 1 : ข้อมูลผู้เขียนบทความ
รหัสอ้างอิง : 159
ชื่อสมาชิก : มุจลินทร์ ผลจันทร์
เพศ : หญิง
อีเมล์ : mujalin@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน [สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 31/1/2554 9:57:07
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 31/1/2554 9:57:07
URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้
ตอนที่ 2 : ระดับความชอบที่ผู้อ่านมีต่อบทความนี้
ชอบ  0  คน ไม่ชอบ  0  คน
ตอนที่ 3 : รายละเอียดบทความ
องค์ความรู้ที่ได้จากการนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง Challenges and opportunities of landscape grass species in Cadmium Removal for Sustainable stormwater management
Growing urbanization and daily human activities led to significant changes in both quantity and quality of urban runoff. Heavy metals in urban runoff have been of concern to the environmental pollution due to their direct adverse effects on aquatic ecosystem. The development of green areas is one of the important strategies for the urban sustainable development. Biofiltration system, a new concept of low impact urban sustainable development, has been used to improve the quality of urban stormwater runoff. This could be done and success by applying the plant species that have the phytoremediation potential. However, the knowledge of the ability of landscape plants frequently used for Thailand greenspace development for heavy metal removal is still lacking. This study investigated the ability of three grass landscape species (Axonopus compuuressus P.Beauv, Zoysia matrella (L.) Merrill and Zoysia japonica) in treating the synthetic stormwater runoff contaminated with 1 and 3 ppm of cadmium. The highest concentration of Cd was found from the root of Z. japonica with the value 462.54 mg/kg dry wt. The average removal efficiencies by Z. japonica in the bioretention system for SS and COD were 88% and 78%, respectively. The system had high capabilities to remove TKN, NO3, PO4 and Cd from polluted stromwater up to 100%.

งานวิจัยนี้ได้มีการศึกษา หญ้า ที่ใช้ในงาน Landscape จำนวน 3 ชนิดคือ หญ้ามาเลเซีย (Axonopus compuuressus P.Beauv)หญ้านวลน้อย ( Zoysia matrslla (L.)และหญ้าญี่ปุ่น (Zoysia japonica) ในการดูด Cadmium ซึ่งเป็นโลหะหนัก ที่ปนเปื้อนในน้ำไหลนอง (Stormwater runoff) จากถนน โดยผลการศึกษาพบว่า หญ้าญี่ปุ่น มีความสามารถในการดูดแคดเมียมได้มากที่สุดโดยเก็บไว้ที่ส่วนราก นอกจากนั้นระบบ Bioretention ที่ใช้หญ้าในการจัดการน้ำฝนไหลนอง ยังมีความสามารถในการกำจัด COD และ SS ได้ 88% และ 78 % ในขณะที่สามารถกำจัด TKN NO3 PO4 และ Cd ได้ 100%

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2314  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
วันที่เขียน 6/9/2560 9:16:44  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2567 14:51:34
ตอนที่ 4 : รายการความคิดเห็นทั้งหมดที่มีต่อบทความนี้
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร : Management Information System [MIS]
รับผิดชอบระบบ โดย ศูนย์เทคโนโลยีสารนสนเทศ มหาวิทยาลัย
ติดต่อสอบถาม : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย 63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290