ระบบแจ้งเตือน : ระบบจะสามารถทำงานได้เต็มประสิทธิภาพต่อเมื่อทำงานบน IE Version 8.0 ขึ้นไป [Download]
หน้าหลักระบบบริหารจัดการความรู้ ทีมงานพัฒนาระบบ ทีมงานพัฒนาระบบ
E-Mail(มหาวิทยาลัย)

Password

** รหัสผ่านเดียวกับที่ใช้ในระบบ e-mail มหาวิทยาลัย
 
รายละเอียดบทความ
ตอนที่ 1 : ข้อมูลผู้เขียนบทความ
รหัสอ้างอิง : 291
ชื่อสมาชิก : หนึ่งหทัย ชัยอาภร
เพศ : หญิง
อีเมล์ : neunghatai@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน [สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 10/3/2554 16:26:50
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 10/3/2554 16:26:50
URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้
ตอนที่ 2 : ระดับความชอบที่ผู้อ่านมีต่อบทความนี้
ชอบ  0  คน ไม่ชอบ  0  คน
ตอนที่ 3 : รายละเอียดบทความ
Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
Thailand 4.0 สามารถนำพาประเทศให้หลุดพ้นจาก กับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง กับดักความเหลื่อมล้ำและ กับดักความไม่สมดุลในการพัฒนา พร้อมๆ กับปฏิรูปประเทศไทยสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน ขับเคลื่อนตามแนวคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกลไก ประชารัฐ จนสามารถเป็น ประเทศโลกที่หนึ่งในศตวรรษ ที่ 21 โดยมีกลไกการขับเคลื่อน คือการมุ่งเน้นธุรกิจ การผลิต และการใช้ เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม การมุ่งเน้นการใช้พลังงานทดแทน การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ และเมืองที่น่าอยู่ การปรับแนวคิดจากเดิมที่คำนึงถึงความ ได้เปรียบเรื่องต้นทุน (Cost Advantage) เป็นหลัก มาสู่การคำนึงถึงประโยชน์ที่ได้ จากการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นทั้งระบบ (Lost Advantage) การส่งเสริมให้ภาคเอกชนเป็นองค์กรที่ “คิดดีทำดี” (Doing Good, Doing Well)

Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดย ดร.สุรชัย สถิติคุณารัตน์ ผู้อำนวยการอาวุโส ศูนย์ข้อมูลและการคาดการณ์เทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ สวทน. ได้กล่าวไว้ว่า Thailand 4.0 สามารถนำพาประเทศให้หลุดพ้นจาก กับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง กับดักความเหลื่อมล้ำและ กับดักความไม่สมดุลในการพัฒนา พร้อมๆ กับปฏิรูปประเทศไทยสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน อย่างเป็นรูปธรรม ด้วยการสร้างความเข้มแข็งจากภายใน ขับเคลื่อนตามแนวคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกลไก ประชารัฐ จนสามารถเป็น ประเทศโลกที่หนึ่งในศตวรรษ ที่ 21 โดยมีกลไกการขับเคลื่อน คือการมุ่งเน้นธุรกิจ การผลิต และการใช้ เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  การมุ่งเน้นการใช้พลังงานทดแทน  การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ และเมืองที่น่าอยู่  การปรับแนวคิดจากเดิมที่คำนึงถึงความ ได้เปรียบเรื่องต้นทุน (Cost Advantage) เป็นหลัก มาสู่การคำนึงถึงประโยชน์ที่ได้ จากการลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นทั้งระบบ (Lost Advantage) การส่งเสริมให้ภาคเอกชนเป็นองค์กรที่ “คิดดีทำดี” (Doing Good, Doing Well)

การพัฒนาคน การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 จะต้องทำดังนี้ 1) การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย 2) Brain Power Planning 3) การเตรียมคนไทย Generation4.0 4) การพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 5) การ Refill คนไทย 1.0-2.0 6) การส่งเสริมการปกป้องสิทธิมนุษยชน 7) การพัฒนาระบบประกันสุขภาพ 8) การพัฒนาคุณภาพแรงงงาน 9) การ Reskill /Upskill แรงงาน 10) การยกระดับ คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต 11) Talent Mobility และ12 )ตลาดแรงงานสำหรับคนสูงวัย

การปฏิรูประบบวิจัยและนวัตกรรม การขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็นประเทศที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยอาศัยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทาง การดำเนินงานจำเป็นต้องมีการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยอาศัยความรู้ด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และ องค์ความรู้ด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์เป็นพื้นฐาน “รัฐบาลจึงได้มีความพยายามในการปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ เพื่อแก้ไขปัญหาของระบบการบริหารงานวิจัยของประเทศทั้งเชิงโครงสร้าง สถาบัน และระบบ ให้มีความเชื่อมต่องานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์ อย่างแท้จริง...”

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4457  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
วันที่เขียน 31/7/2560 16:07:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/4/2567 4:16:54
ตอนที่ 4 : รายการความคิดเห็นทั้งหมดที่มีต่อบทความนี้
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด

ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร : Management Information System [MIS]
รับผิดชอบระบบ โดย ศูนย์เทคโนโลยีสารนสนเทศ มหาวิทยาลัย
ติดต่อสอบถาม : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัย 63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290